ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

PHP Calendar : ฝึกสร้างปฏิทินไว้ใช้ในงานต่างๆ

การสร้างตารางปฏิทินนั้น มีขั้นตอนหลักๆ อยู่ประมาณ 5 ขั้นตอนครับ



1. ค้นหาตำแหน่งของวันที่ 1 ของเดือนที่ต้องการ
$startPoint = date('w', $timeDate); //จุดเริ่มต้น วันในสัปดาห์

2. หากไม่ได้เริ่มจากช่องซ้ายมือช่องแรกสุด ให้แทนที่ด้านหน้าเป็นช่องว่าง
if($startPoint < 7){ //ถ้าวันอาทิตย์จะเป็น 7
    echo str_repeat("<td> </td>", $startPoint);
}
3. เริ่มวนลูปตั้งแต่วันที่ 1 จนถึงวันสุดท้ายของเดือนนั้น
for($i=1; $i <= $lastDay; $i++)
4. สร้างข้อมูลให้ครบ 7 วัน หรือ 7 คอลัมน์ ถ้าครบขึ้นบรรทัดใหม่
if($col % 7 == false)

5. ถ้าวันที่สุดท้ายของเดือนไม่ได้อยู่ช่องสุดท้าย ให้แทนที่ช่องที่เหลือด้วยค่าว่าง
if($col < 7){ // ถ้ายังไม่ครบ7 วัน
    echo str_repeat("<td> </td>", 7-$col);
}



ผลลัพธ์ที่ได้



<?php
header('Content-Type: text/html; charset=utf-8');
$weekDay = array( 'อาทิตย์', 'จันทร์', 'อังคาร', 'พุธ', 'พฤหัสฯ', 'ศุกร์', 'เสาร์');
$thaiMon = array( "01" => "มกราคม", "02" => "กุมภาพันธ์", "03" => "มีนาคม", "04" => "เมษายน",
      "05" => "พฤษภาคม","06" => "มิถุนายน", "07" => "กรกฎาคม", "08" => "สิงหาคม",
      "09" => "กันยายน", "10" => "ตุลาคม", "11" => "พฤศจิกายน", "12" => "ธันวาคม");

//Sun - Sat
$month = isset($_GET['month']) ? $_GET['month'] : date('m'); //ถ้าส่งค่าเดือนมาใช้ค่าที่ส่งมา ถ้าไม่ส่งมาด้วย ใช้เดือนปัจจุบัน
$year = isset($_GET['year']) ? $_GET['year'] : date('Y'); //ถ้าส่งค่าปีมาใช้ค่าที่ส่งมา ถ้าไม่ส่งมาด้วย ใช้ปีปัจจุบัน

//วันที่
$startDay = $year.'-'.$month."-01";   //วันที่เริ่มต้นของเดือน

$timeDate = strtotime($startDay);   //เปลี่ยนวันที่เป็น timestamp
$lastDay = date("t", $timeDate);   //จำนวนวันของเดือน

$endDay = $year.'-'.$month."-". $lastDay;  //วันที่สุดท้ายของเดือน

$startPoint = date('w', $timeDate);   //จุดเริ่มต้น วันในสัปดาห์

//echo "<br>\$data ";
//print_r($data);
//echo "<hr>";
?>
<html>
 <head>
 <title>ทดลองสร้างปฏิทินด้วย PHP</title>
 <script type='text/javascript'>
    function goTo(month, year){
   window.location.href = "day_of_week.php?year="+ year +"&month="+ month;
    }
 </script>
 <style>
 th,td{width:50px;height: 30px; text-align:center}
 th{background-color: #eeeeee;}
 #tb_calendar, #main{ width : 500px;}
 #main{ border : 2px solid #46A5E0;}
 #nav{
  background-color: #0C79A4;
  min-height: 20px;
  padding: 10px;
  text-align: center;
  color : white;
 }
 .navLeft{float: left; }
 .navRight{float: right;}
 .title{float: left; text-align: center; width: 300px;}
 </style>
 </head>
 <body>

<?php
echo "<br/>ตำแหน่งของวันที่ $startDay คือ <strong>", $startPoint , " (ตรงกับ วัน" , $weekDay[$startPoint].")</strong>";

$title = "เดือน $thaiMon[$month] <strong>". $startDay. " : ". $endDay."</strong>";

//ลดเวลาลง 1 เดือน
$prevMonTime = strtotime ( '-1 month' , $timeDate  );
$prevMon = date('m', $prevMonTime);
$prevYear = date('Y', $prevMonTime);
//เพิ่มเวลาขึ้น 1 เดือน
$nextMonTime = strtotime ( '+1 month' , $timeDate  );
$nextMon = date('m', $nextMonTime);
$nextYear = date('Y', $nextMonTime);

echo '<div id="main">';
echo '<div id="nav">
  <button class="navLeft" onclick="goTo(\''.$prevMon.'\', \''.$prevYear.'\');"><< เดือนที่แล้ว</button>
  <div class="title">'.$title.'</div>
  <button class="navRight" onclick="goTo(\''.$nextMon.'\', \''.$nextYear.'\');">เดือนต่อไป >></button>
 </div>
 <div style="clear:both"></div>';
echo "<table id='tb_calendar' border='1'>"; //เปิดตาราง
echo "<tr>
  <th>อาทิตย์</th><th>จันทร์</th><th>อังคาร</th><th>พุธ</th><th>พฤหัสฯ</th><th>ศุกร์</th><th>เสาร์</th>
</tr>";
echo "<tr>";    //เปิดแถวใหม่
$col = $startPoint;          //ให้นับลำดับคอลัมน์จาก ตำแหน่งของ วันในสับดาห์ 
if($startPoint < 7){         //ถ้าวันอาทิตย์จะเป็น 7
 echo str_repeat("<td> </td>", $startPoint); //สร้างคอลัมน์เปล่า กรณี วันแรกของเดือนไม่ใช่วันอาทิตย์
}
for($i=1; $i <= $lastDay; $i++){ //วนลูป ตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันสุดท้ายของเดือน
 $col++;       //นับจำนวนคอลัมน์ เพื่อนำไปเช็กว่าครบ 7 คอลัมน์รึยัง
 echo "<td>", $i , "</td>";  //สร้างคอลัมน์ แสดงวันที่ 
 if($col % 7 == false){   //ถ้าครบ 7 คอลัมน์ให้ขึ้นบรรทัดใหม่
  echo "</tr><tr>";   //ปิดแถวเดิม และขึ้นแถวใหม่
  $col = 0;     //เริ่มตัวนับคอลัมน์ใหม่
 }
}
if($col < 7){         // ถ้ายังไม่ครบ7 วัน
 echo str_repeat("<td> </td>", 7-$col); //สร้างคอลัมน์ให้ครบตามจำนวนที่ขาด
}
echo '</tr>';  //ปิดแถวสุดท้าย
echo '</table>'; //ปิดตาราง
echo '</main>';

?>
</body>
</html>

ดูตัวอย่างการทำงาน

ดาวน์โหลดซอร์สโค๊ดรวมตัวอย่าง ที่นี




"PHP ไม่ได้สร้างสุดยอดโปรแกรม
แต่ PHP ช่วยให้งานคุณง่ายขึ้นต่างหาก"

PHP CI MANIA PHP Code Generator 
โปรแกรมช่วยสร้างโค้ด ลดเวลาการเขียนโปรแกรม

สนใจสั่งซื้อเพียง 3,990 บาท



PHP CI MANIA PHP Code Generator 

โปรแกรมช่วยสร้างโค้ด "ลดเวลาการเขียนโปรแกรม"
ราคาสุดคุ้มเพียง 3,990 บาท 
http://www.phpcodemania.com


บทความที่เกี่ยวข้อง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แจกฟรี!! ระบบต่างๆที่พัฒนาด้วย PHP สำหรับนำไปใช้ในงานต่างๆ

       สำหรับหลายท่านที่ขอโค้ดเข้ามาทาง Inbox ของเฟซบุ๊กแฟนเพจ หรือถามถึงระบบต่างๆหลังไมค์มานั้น ส่วนใหญ่ก็มีแจกอยู่แล้วในเว็บบอร์ด ThaiCreate.Com นะครับ และด้านล่างนี้ก็เป็นระบบต่างๆที่แจกให้นำไปลองใช้ลองศึกษากันครับ

สร้างแบบฟอร์มล็อกอิน HTML + PHP

       ผมจะสร้างระบบตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นการทำงานของสคริปต์ PHP ที่ใช้ในการล็อกอินอย่างง่ายๆ นะครับ โดยที่ผมจะสร้างโฟลเดอร์ใหม่ขึ้นในไดร์ฟที่เราได้กำหนดให้เป็น Directory Root สำหรับรันสคริปต์ PHP ซึ่งผมกำหนดเอาไว้ที่ D:\www ดังนั้นผมจะสร้างโฟลเดอร์ teacher_assistant ขึ้นมาใหม่จะได้พาธเป็น D:\www\teacher_assistant สำหรับการเข้าถึง จะใช้ URL ดังนี้ http://localhost/teacher_assistant หลังจากสร้างโฟลเดอร์เสร็จเรียบร้อยก็จะเริ่มกระบวนการเตรียมโครงสร้างโปรเจ็กต์ด้วยเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมชื่อว่า eclipse ซึ่งดูวิธีการสร้างโปรเจ็กต์ได้จากบทความ เริ่มต้นสร้างโปรเจ็กต์ ด้วยโปรแกรม eclipse เครื่องมือเขียนโปรแกรม php ในบทความเป็นการสร้างโปรเจ็กต์ที่มีพาธเป็นโฟลเดอร์ login แต่ในที่นี้ต้องเป็นพาธให้ตรงกับโฟลเดอร์ใหม่ที่เราได้สร้างขึ้นด้วยนะครับ

PHP กับการคิดส่วนลดเป็นเปอร์เซ็น 5%, 10%, 20% ตามช่วงราคาที่กำหนด

<?php     $total_price = 1000;     $discount = 0;         if($total_price >= 500 && $total_price < 1001){         $discount = 5;     }elseif($total_price >= 1001 && $total_price <= 5000){         $discount = 10;     }elseif($total_price >= 5001){         $discount = 20;     }         $discount_bath = ($total_price*$discount)/100; ?> <pre> ซื้อสินค้าครบ 0 ถึง 499 บาท ไม่ได้ส่วนลด ซื้อสินค้าครบ 500 ถึง 1000 บาท ได้ส่วนลด 5% ซื้อสินค้าครบ 1001 ถึง 5000บาท ได้ส่วนลด 10% ซื้อสินค้าครบ 5001 บาทขึ้นไป ได้ส่วนลด 20% </pre> <h3>รวมราคาสินค้า = <?php echo number_format($total_price,2);?></h3> <h5>ส่วนลด = <?php echo $discount;?>%  (<?php echo $discount_bath;?> บาท)</h5> <h2>ราคาหลังส่วนลด = <?php echo number_format($total_price - $discount_bath,2);?>บาท</h2> "PHP ไม่ได้สร้างสุดยอดโปรแกรม แต่ PHP ช่วยให้งานคุณง่ายขึ้นต