ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

[สอนเขียน PHP] สร้าง PHP Builder ตอนที่ 3 : ออกแบบฐานข้อมูล MySQL โดยใช้ phpMyAdmin

ตัวอย่างตอนนี้จะเป็นการออกแบบฐานข้อมูลและความสัมพันธ์ของแต่ละตารางนะครับ โดยที่จะเริ่มจาก
1. การสร้างตารางโปรเจ็กต์
2. จากนั้นก็เพิ่ม Controller ของ Project นั้นๆ
3. ตารางสำหรับเก็บ View ของ Controller แต่ละหน้า

วิดีโอตอนนี้เสียงจะเบามากนะครับเนื่องจากเสียงไม่เข้าไมค์เพราะตั้งค่าผิดพลาด

วิดีโอตัวอย่าง


SQL สำหรับสร้างตารางตามตัวอย่าง

-- phpMyAdmin SQL Dump
-- version 4.3.10
-- http://www.phpmyadmin.net
--
-- Host: localhost
-- Generation Time: Jul 10, 2015 at 08:35 PM
-- Server version: 5.5.43-0ubuntu0.14.04.2
-- PHP Version: 5.5.9-1ubuntu4.11

SET SQL_MODE = "NO_AUTO_VALUE_ON_ZERO";
SET time_zone = "+00:00";

--
-- Database: `tobedev_builder`
--

-- --------------------------------------------------------

--
-- Table structure for table `tb_controller_list`
--

CREATE TABLE IF NOT EXISTS `tb_controller_list` (
  `id` int(11) NOT NULL,
  `pj_id` int(11) NOT NULL,
  `ctl_name` varchar(20) NOT NULL,
  `ctl_remark` varchar(100) NOT NULL
) ENGINE=InnoDB DEFAULT CHARSET=utf8 COMMENT='เก็บรายชื่อ controller ของแต่ละโปรเจ็กต์';

-- --------------------------------------------------------

--
-- Table structure for table `tb_project`
--

CREATE TABLE IF NOT EXISTS `tb_project` (
  `id` int(11) NOT NULL,
  `name` varchar(50) NOT NULL,
  `database` varchar(30) NOT NULL,
  `remark` varchar(200) NOT NULL
) ENGINE=InnoDB DEFAULT CHARSET=utf8 COMMENT='ตารางรายชื่อโปรเจ็กต์';

-- --------------------------------------------------------

--
-- Table structure for table `tb_view_list`
--

CREATE TABLE IF NOT EXISTS `tb_view_list` (
  `id` int(11) NOT NULL,
  `ctl_id` int(11) NOT NULL,
  `vl_name` varchar(20) NOT NULL,
  `vl_remark` varchar(100) NOT NULL
) ENGINE=InnoDB DEFAULT CHARSET=utf8 COMMENT='เก็บรายชื่อ view ของแต่ละ controller';

--
-- Indexes for dumped tables
--

--
-- Indexes for table `tb_controller_list`
--
ALTER TABLE `tb_controller_list`
  ADD PRIMARY KEY (`id`);

--
-- Indexes for table `tb_project`
--
ALTER TABLE `tb_project`
  ADD PRIMARY KEY (`id`);

--
-- Indexes for table `tb_view_list`
--
ALTER TABLE `tb_view_list`
  ADD PRIMARY KEY (`id`);

--
-- AUTO_INCREMENT for dumped tables
--

--
-- AUTO_INCREMENT for table `tb_controller_list`
--
ALTER TABLE `tb_controller_list`
  MODIFY `id` int(11) NOT NULL AUTO_INCREMENT;
--
-- AUTO_INCREMENT for table `tb_project`
--
ALTER TABLE `tb_project`
  MODIFY `id` int(11) NOT NULL AUTO_INCREMENT;
--
-- AUTO_INCREMENT for table `tb_view_list`
--
ALTER TABLE `tb_view_list`
  MODIFY `id` int(11) NOT NULL AUTO_INCREMENT;





PHP CI MANIA PHP Code Generator 
โปรแกรมช่วยสร้างโค้ด ลดเวลาการเขียนโปรแกรม

สนใจสั่งซื้อเพียง 4,500 บาท
http://fastcoding.phpcodemania.com/

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แจกฟรี!! ระบบต่างๆที่พัฒนาด้วย PHP สำหรับนำไปใช้ในงานต่างๆ

       สำหรับหลายท่านที่ขอโค้ดเข้ามาทาง Inbox ของเฟซบุ๊กแฟนเพจ หรือถามถึงระบบต่างๆหลังไมค์มานั้น ส่วนใหญ่ก็มีแจกอยู่แล้วในเว็บบอร์ด ThaiCreate.Com นะครับ และด้านล่างนี้ก็เป็นระบบต่างๆที่แจกให้นำไปลองใช้ลองศึกษากันครับ

สร้างแบบฟอร์มล็อกอิน HTML + PHP

       ผมจะสร้างระบบตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นการทำงานของสคริปต์ PHP ที่ใช้ในการล็อกอินอย่างง่ายๆ นะครับ โดยที่ผมจะสร้างโฟลเดอร์ใหม่ขึ้นในไดร์ฟที่เราได้กำหนดให้เป็น Directory Root สำหรับรันสคริปต์ PHP ซึ่งผมกำหนดเอาไว้ที่ D:\www ดังนั้นผมจะสร้างโฟลเดอร์ teacher_assistant ขึ้นมาใหม่จะได้พาธเป็น D:\www\teacher_assistant สำหรับการเข้าถึง จะใช้ URL ดังนี้ http://localhost/teacher_assistant หลังจากสร้างโฟลเดอร์เสร็จเรียบร้อยก็จะเริ่มกระบวนการเตรียมโครงสร้างโปรเจ็กต์ด้วยเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมชื่อว่า eclipse ซึ่งดูวิธีการสร้างโปรเจ็กต์ได้จากบทความ เริ่มต้นสร้างโปรเจ็กต์ ด้วยโปรแกรม eclipse เครื่องมือเขียนโปรแกรม php ในบทความเป็นการสร้างโปรเจ็กต์ที่มีพาธเป็นโฟลเดอร์ login แต่ในที่นี้ต้องเป็นพาธให้ตรงกับโฟลเดอร์ใหม่ที่เราได้สร้างขึ้นด้วยนะครับ

PHP กับการคิดส่วนลดเป็นเปอร์เซ็น 5%, 10%, 20% ตามช่วงราคาที่กำหนด

<?php     $total_price = 1000;     $discount = 0;         if($total_price >= 500 && $total_price < 1001){         $discount = 5;     }elseif($total_price >= 1001 && $total_price <= 5000){         $discount = 10;     }elseif($total_price >= 5001){         $discount = 20;     }         $discount_bath = ($total_price*$discount)/100; ?> <pre> ซื้อสินค้าครบ 0 ถึง 499 บาท ไม่ได้ส่วนลด ซื้อสินค้าครบ 500 ถึง 1000 บาท ได้ส่วนลด 5% ซื้อสินค้าครบ 1001 ถึง 5000บาท ได้ส่วนลด 10% ซื้อสินค้าครบ 5001 บาทขึ้นไป ได้ส่วนลด 20% </pre> <h3>รวมราคาสินค้า = <?php echo number_format($total_price,2);?></h3> <h5>ส่วนลด = <?php echo $discount;?>%  (<?php echo $discount_bath;?> บาท)</h5> <h2>ราคาหลังส่วนลด = <?php echo number_format($total_price - $discount_bath,2);?>บาท</h2> "PHP ไม่ได้สร้างสุดยอดโปรแกรม แต่ PHP ช่วยให้งานคุณง่ายขึ้นต