ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

PHP Framework ชีวิตจะง่ายขึ้นสำหรับใคร??

PHP Framework

     ปัจจุบันมีเฟรมเวิร์กเด่นๆ ให้ใช้งานอยู่หลายยี่ห้อเช่น Yii, Laravel, Zend, CodeIgniter, Cakephp, Symfony และแน่นอนว่าแต่ละยี่ห้อนั้นก็มีความสามารถเฉพาะตัว เพราะต้องมีจุดแข็งไว้ดึงดูดผู้พัฒนา

     ตั้งแต่ฝึกเขียน PHP มาจนกระทั่งพอจะมีความรู้มาแบ่งปันกันบ้างในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เคยลองใช้งานเฟรมเวิร์กอย่างเป็นจริงเป็นจังสักที สำหรับมือใหม่แล้วผมไม่แนะนำสักเท่าไหร่


"ในเมื่อมันจะทำให้ชีวิตง่ายขึ้น" แล้วทำไมผมถึงไม่แนะนำให้มือใหม่ฝึกใช้ PHP Framework สักตัว ไม่ใช้เพราะมันยาก แต่เพราะกลัวว่าเว็บบอร์ดถามตอบปัญหาการเขียนโปรแกรมจะรับคำถามไม่ไหว เพราะถ้ามือใหม่ไม่ได้เริ่มจากพื้นฐานของ PHP ไม่ได้สัมผัสกับ Built-in functions ของ PHP แบบเต็มๆ ก็คงจะยากเมื่อเกิดคำถาม?




และสุดท้ายนี้ก็ไม่รู้ว่าจะลงอย่างไร เพราะจู่ๆอยากเขียนหัวข้อนี้ขึ้นมา ก็ขึ้นมันซะอย่างนั้น เลยลงไม่เป็นเห็นทีคงต้องลาด้วยคำว่า “It is never too late to be what you might have been.”



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แจกฟรี!! ระบบต่างๆที่พัฒนาด้วย PHP สำหรับนำไปใช้ในงานต่างๆ

       สำหรับหลายท่านที่ขอโค้ดเข้ามาทาง Inbox ของเฟซบุ๊กแฟนเพจ หรือถามถึงระบบต่างๆหลังไมค์มานั้น ส่วนใหญ่ก็มีแจกอยู่แล้วในเว็บบอร์ด ThaiCreate.Com นะครับ และด้านล่างนี้ก็เป็นระบบต่างๆที่แจกให้นำไปลองใช้ลองศึกษากันครับ

สร้างแบบฟอร์มล็อกอิน HTML + PHP

       ผมจะสร้างระบบตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นการทำงานของสคริปต์ PHP ที่ใช้ในการล็อกอินอย่างง่ายๆ นะครับ โดยที่ผมจะสร้างโฟลเดอร์ใหม่ขึ้นในไดร์ฟที่เราได้กำหนดให้เป็น Directory Root สำหรับรันสคริปต์ PHP ซึ่งผมกำหนดเอาไว้ที่ D:\www ดังนั้นผมจะสร้างโฟลเดอร์ teacher_assistant ขึ้นมาใหม่จะได้พาธเป็น D:\www\teacher_assistant สำหรับการเข้าถึง จะใช้ URL ดังนี้ http://localhost/teacher_assistant หลังจากสร้างโฟลเดอร์เสร็จเรียบร้อยก็จะเริ่มกระบวนการเตรียมโครงสร้างโปรเจ็กต์ด้วยเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมชื่อว่า eclipse ซึ่งดูวิธีการสร้างโปรเจ็กต์ได้จากบทความ เริ่มต้นสร้างโปรเจ็กต์ ด้วยโปรแกรม eclipse เครื่องมือเขียนโปรแกรม php ในบทความเป็นการสร้างโปรเจ็กต์ที่มีพาธเป็นโฟลเดอร์ login แต่ในที่นี้ต้องเป็นพาธให้ตรงกับโฟลเดอร์ใหม่ที่เราได้สร้างขึ้นด้วยนะครับ

PHP กับการคิดส่วนลดเป็นเปอร์เซ็น 5%, 10%, 20% ตามช่วงราคาที่กำหนด

<?php     $total_price = 1000;     $discount = 0;         if($total_price >= 500 && $total_price < 1001){         $discount = 5;     }elseif($total_price >= 1001 && $total_price <= 5000){         $discount = 10;     }elseif($total_price >= 5001){         $discount = 20;     }         $discount_bath = ($total_price*$discount)/100; ?> <pre> ซื้อสินค้าครบ 0 ถึง 499 บาท ไม่ได้ส่วนลด ซื้อสินค้าครบ 500 ถึง 1000 บาท ได้ส่วนลด 5% ซื้อสินค้าครบ 1001 ถึง 5000บาท ได้ส่วนลด 10% ซื้อสินค้าครบ 5001 บาทขึ้นไป ได้ส่วนลด 20% </pre> <h3>รวมราคาสินค้า = <?php echo number_format($total_price,2);?></h3> <h5>ส่วนลด = <?php echo $discount;?>%  (<?php echo $discount_bath;?> บาท)</h5> <h2>ราคาหลังส่วนลด = <?php echo number_format($total_price - $discount_bath,2);?>บาท</h2> "PHP ไม่ได้สร้างสุดยอดโปรแกรม แต่ PHP ช่วยให้งานคุณง่ายขึ้นต