ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โค๊ดตัวอย่างการทำ Autocomplete แบบลดจำนวนการคิวรี่ MySQL


รวมภาพประกอบบทความจากบทความที่แล้ว หลักการเขียน PHP Autocomplete ด้วย jQuery ในรูปแบบ JSON วันนี้จะมานำเสนอวิธีการเขียนโค๊ด Autocomplete ด้วย jQuery เป็นตัวอย่างสำหรับการทำงานด้วยแนวคิดที่ว่านี้ แล้วลองประยุกต์กันดูนะครับ

ในบทความนี้จะพูดถึงอะไรบ้าง ก็จะมีการเขียนโค๊ด PHP  เพื่อเรียกข้อมูลจากฐานข้อมูล MySQL แล้วเขียนเป็นไฟล์ JavaScript เพื่อเรียกใช้ด้วย Autocomplete ด้วย jQuery อีกที

จากซอร์สโค๊ดจะเห็นว่า PHP จะสั่งคิวรี่เพียงครั้งเดียว และเมื่อพิมพ์รายชื่อ จะสามารถแสดง Autocomplete ขึ้นมาให้เลือกได้โดยไม่ต้องส่งค่าไปมาด้วย Ajax อีก ซึ่งประหยัดทั้งแบนวิธด์ และการทำงานของ MySQL ที่ใช้ CPU ที่เกินจำเป็นได้อีกด้วย แต่ถ้าจะให้ดีก็ไม่ต้องคิวรี่ครับ (ดึงไฟล์ที่ได้สร้างเป็น *.js ไว้แล้วมาใช้เลยจะดีที่สุด ^_^ )


1. ข้อมูลสมาชิกในฐานข้อมูล MySQL 

ตัวอย่างฐานข้อมูลสมาชิก ที่เก็บใน MySQL

    ข้อมูลทดสอบอยู่ในไฟล์ tb_user.sql

2. หน้าค้นหา แบบ Autocomplete
    

หน้านี้จะอยู่ที่ไฟล์ autocomplete-optimize.php


ซอร์สโค๊ดที่ใช้ทำสอบจะดึงข้อมูลจากฐานขอมูลมาสร้างตัวแปรจาวาสคริปต์โดยตรง ยังไม่มีส่วนของการนำข้อมูลทั้งหมด มาสร้างเป็นไฟล์ .js เพื่อเรียกใช้ในหน้าที่ใช้ Autocomplete

ถ้าต้องการใช้งานจริง ก็ให้นำส่วนที่ดึงข้อมูลที่ต้องการทั้งหมดไปสร้างเป็นไฟล์ .js เมื่อมีการเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลสมาชิก ซึ่งใช้คำสั่งเขียนไฟล์ Text ของ PHP ธรรมดๆนี่เอง ^^



ดูวิธีดาวน์โหลดซอร์สโค๊ดที่นี่
ดาวน์โหลดที่นี่




ข้อมูลเพิ่มเติม
jQuery UI Autocomplete
---------------------------------------------------------------------------------------

<!doctype html>
<html lang="en">
<head>
  <meta charset="utf-8" />
  <title>jQuery UI Autocomplete - Custom data and display</title>
  
  <link rel="stylesheet" href="css/jquery-ui-1.10.2.custom.css" />
  <script src="js/jquery-1.9.1.js"></script>
  <script src="js/jquery-ui-1.10.2.custom.min.js"></script>
  <style>
  #project-label {
    display: block;
    font-weight: bold;
    margin-bottom: 1em;
  }
  #project-icon {
    float: left;
    height: 32px;
    width: 32px;
  }
  #project-description {
    margin: 0;
    padding: 0;
  }
  </style>
</head>
<body>
    <?php
        
//-- ส่วนของการเชื่อมต่อฐานข้อมูล
        
$host "localhost";
        
$user "sunzandesign";
        
$pass "abcd1234";
        
$dbname "sunzan-design.com";
         
        
$conn mysql_connect($host,$user,$pass) or die( "ไม่สามารถติดต่อฐานข้อมูลได้ "mysql_error());
        
mysql_select_db($dbname) or die("เชื่อมต่อฐานข้อมูลไม่ได้ "mysql_error());
        
mysql_query('SET NAMES UTF8');
         
        
//แสดงข้อมูลจากตารางสมาชิก
        
$comma '';
        
$allEmp '';
        
$sql="SELECT user_code,user_fullname  FROM tb_user ORDER BY user_fullname ASC";
        
$result=mysql_query($sql) or die(mysql_error()." [$sql]");
        while (
$row mysql_fetch_array($result)) {
            
$allEmp .= $comma.'{value: "'.$row['user_code'].'",label: "'.$row['user_fullname'].'"}';
            if(
$comma===''$comma ',';
        }
        
//การใช้งานจริง ส่วนนี้จะถูกเขียนเป็นไฟล์ .js เพื่อเรียกใช้ใน javascript
        
$allEmp '['$allEmp ']';
        
//--
    
?>
    <div id="project-label">ค้นหารายชื่อสมาชิก</div>
    <input id="user_fullname" value=""/>
    <input type="hidden" id="project-id" />
    <p id="project-description"></p>

    <!-- ส่วนนี้คือไฟล์ที่สร้างไว้เรียบร้อยแล้ว ในตัวอย่างจะเป็นไฟล์เปล่า -->
    <script type="text/javascript" src="themes/js/allEmpData.js"></script>
    <script type="text/javascript">
        $(function() { 

        //ถ้าใช้งานจริง ส่วนนี้จะถูกเขียนขึ้น เป็นไฟล์ .js เมื่อมีการเพิ่ม/แก้ไข ข้อมูลสมาชิก 
        var autoCompleteData = <?php echo $allEmp?>;
        //--

        if(!autoCompleteData) var autoCompleteData = new Array();
        $( "#user_fullname" ).autocomplete({
          minLength: 0,
          source: autoCompleteData,
          focus: function( event, ui ) {
            $( "#user_fullname" ).val( ui.item.label );
            return false;
          },
          select: function( event, ui ) {
            $( "#user_fullname" ).val( ui.item.label );
            $( "#project-id" ).val( ui.item.value );
            return false;
          }
        })
        .data( "ui-autocomplete" )._renderItem = function( ul, item ) {
          return $( "<li>" )
            .append( "<a>" + item.label + "</a>" )
            .appendTo( ul );
        };
        });
    </script>
</body>
</html>




PHP CI MANIA PHP Code Generator 
โปรแกรมช่วยสร้างโค้ด ลดเวลาการเขียนโปรแกรม

สนใจสั่งซื้อเพียง 4,500 บาท
http://fastcoding.phpcodemania.com/



สนับสนุนค่ากาแฟผู้เขียนได้ที่


PayPal

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

แจกฟรี!! ระบบต่างๆที่พัฒนาด้วย PHP สำหรับนำไปใช้ในงานต่างๆ

       สำหรับหลายท่านที่ขอโค้ดเข้ามาทาง Inbox ของเฟซบุ๊กแฟนเพจ หรือถามถึงระบบต่างๆหลังไมค์มานั้น ส่วนใหญ่ก็มีแจกอยู่แล้วในเว็บบอร์ด ThaiCreate.Com นะครับ และด้านล่างนี้ก็เป็นระบบต่างๆที่แจกให้นำไปลองใช้ลองศึกษากันครับ

สร้างแบบฟอร์มล็อกอิน HTML + PHP

       ผมจะสร้างระบบตัวอย่างเพื่อแสดงให้เห็นการทำงานของสคริปต์ PHP ที่ใช้ในการล็อกอินอย่างง่ายๆ นะครับ โดยที่ผมจะสร้างโฟลเดอร์ใหม่ขึ้นในไดร์ฟที่เราได้กำหนดให้เป็น Directory Root สำหรับรันสคริปต์ PHP ซึ่งผมกำหนดเอาไว้ที่ D:\www ดังนั้นผมจะสร้างโฟลเดอร์ teacher_assistant ขึ้นมาใหม่จะได้พาธเป็น D:\www\teacher_assistant สำหรับการเข้าถึง จะใช้ URL ดังนี้ http://localhost/teacher_assistant หลังจากสร้างโฟลเดอร์เสร็จเรียบร้อยก็จะเริ่มกระบวนการเตรียมโครงสร้างโปรเจ็กต์ด้วยเครื่องมือช่วยเขียนโปรแกรมชื่อว่า eclipse ซึ่งดูวิธีการสร้างโปรเจ็กต์ได้จากบทความ เริ่มต้นสร้างโปรเจ็กต์ ด้วยโปรแกรม eclipse เครื่องมือเขียนโปรแกรม php ในบทความเป็นการสร้างโปรเจ็กต์ที่มีพาธเป็นโฟลเดอร์ login แต่ในที่นี้ต้องเป็นพาธให้ตรงกับโฟลเดอร์ใหม่ที่เราได้สร้างขึ้นด้วยนะครับ

PHP กับการคิดส่วนลดเป็นเปอร์เซ็น 5%, 10%, 20% ตามช่วงราคาที่กำหนด

<?php     $total_price = 1000;     $discount = 0;         if($total_price >= 500 && $total_price < 1001){         $discount = 5;     }elseif($total_price >= 1001 && $total_price <= 5000){         $discount = 10;     }elseif($total_price >= 5001){         $discount = 20;     }         $discount_bath = ($total_price*$discount)/100; ?> <pre> ซื้อสินค้าครบ 0 ถึง 499 บาท ไม่ได้ส่วนลด ซื้อสินค้าครบ 500 ถึง 1000 บาท ได้ส่วนลด 5% ซื้อสินค้าครบ 1001 ถึง 5000บาท ได้ส่วนลด 10% ซื้อสินค้าครบ 5001 บาทขึ้นไป ได้ส่วนลด 20% </pre> <h3>รวมราคาสินค้า = <?php echo number_format($total_price,2);?></h3> <h5>ส่วนลด = <?php echo $discount;?>%  (<?php echo $discount_bath;?> บาท)</h5> <h2>ราคาหลังส่วนลด = <?php echo number_format($total_price - $discount_bath,2);?>บาท</h2> "PHP ไม่ได้สร้างสุดยอดโปรแกรม แต่ PHP ช่วยให้งานคุณง่ายขึ้นต